วิธีการปฏิบัตินี้เปนศิลปะการรักษาเริ่มตนมาจากประเทศญี่ปุน มีชื่อวา จิน ชิน จยึตสึ มีความหมายวาวิญญาณของความกรุณาผานทางศิลปะของมนุษย ซึ่งมีการใชรวมกันระหวางประเทศญี่ปุนและประเทศสหรัฐอเมริกา โดยคุณจิโร มูราอิ (Jiro Murai) และคุณแมรี่ เบอรเมสเตอร (Mary Burmeister) สวนฉันเปนอาจารยสอนวิธีรักษาตัวเอง และหวังวาจะมีประโยชนและสามารถชวยเหลือใหทานรักษาตัวเองไดบาง
1. วางคางไวอยางไร
ทานสามารถวางคางบนสวนตางๆ โดยใช ปลายของฝามือ, นิ้วหัวแมมือ, ฝามือ, หลังมือ หรือสวนอื่นๆที่รูสึกสบาย ฉันเคยเห็นบางทานใชเทาในการวางถารูสึกวาสบาย ความรูสึกผอนคลายในขณะปฏิบัติเปนสิ่งสําคัญ ซึ่งทําใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด
2. เกิดความรูสึกอยางไรกับมือบาง
(รูสึกอยางไรเมื่อทําการปฏิบัติ)
บางครั้งทานอาจสังเกตเห็นความรูสึกในมือของทาน ตัวอยางเชน บอยครั้งที่เรารูสึกถึงความรอน หรือความรูสึกถึงความ “สั่น” ที่เกิดจากความรอนของของที่อยูนอกตัวเราที่เราไปสัมผัส เขามาสูมือของเรา หรือสังเกตเห็นความรูสึกของเนื้อเยื่อที่เกิดขึ้น เชน เหนียว, หยาบ, ฟู, นุม เปนตน ดังนั้นเมื่อทานปฏิบัติ ทานจะเริ่มสังเกตเห็นรางกายของตัวเองในแนวความเขาใจแบบใหม หรือบางทานอาจมีอาการทองรอง หรืออาการสะดุงและเคลื่อนไหว เชนเดียวกับการสะดุงเมื่อนอนหลับสนิท
3. ควรวางคางไวเปนเวลาเทาไร
ทําคางไวนานตามตองการ สามารถรูเองวาเมื่อไรควรยายที่ตอหรือเมื่อไรที่สิ้นสุด เชนเดียวกับการรูวาระยะเวลาในการกอดกันควรสิ้นสุดเมื่อไร
ทานอาจไมสังเกตเห็นความแตกตางในขณะปฏิบัติในระยะสองสามครั้งแรก แตไมเปนไรใหเวลาในการปฏิบัติตามสบาย ฉันคิดวาการฝกฝนทีละนิดจะมีผลเมื่อมีการปฏิบัติบอยครั้ง เมื่อเราเรียนรูอาการที่เกิดขึ้นมากเทาไร ยิ่งทําใหเราสังเกตเห็นอาการในรางกายของเรามากยิ่งขึ้นเทานั้น
นอกจากนั้นบางครั้งอาจรูสึกถึงการเตนของชีพจร ซึ่งเปนเรื่องธรรมดา แตการแยกแยะการเตนนั้นวาเปนการเตนของชีพจรที่มือหรือที่สวนที่วางมือไวเปนสิ่งที่ยาก อยางไรก็ตาม การแยกแยะนั้นไมสําคัญมากนัก ใหรูสึกถึงชีพจรและคุณภาพของชีพจร เชนจังหวะการเตนชาเร็ว หรือความแรง แมวาจังหวะการเตนจะอยูบางหรือหายไปบาง หรือจังหวะเขากันบาง ใหรูสึกถึงจังหวะจะดีกวา แตในการปฏิบัตินี้ไมจําเปนวาจะไดตองรับผลจากการรักษาทุกครั้ง
4. เกิดความรูสึกอยางไรภายในรางกาย
ทานอาจสังเกตเห็นความรูตัวที่เกิดจากความสงบภายใน หรือการนําไปสูความรูสึกผอนคลาย คลายกับอาการงวงนอน ซึ่งถาเกิดการงวงนอนจริงๆ ก็ไมเปนไร ใหปลอยตัวเองรูสึกตามอาการที่เกิดขึ้น เพราะวานั่นคือปฏิกริยาของการรักษา บางครั้งอาจเกิดอาการน้ําตาไหล ซึ่งเกิดจากการปลดปลอยความไมสมดุลและความวิตกกังวลตางๆ หรือบางครั้งเราอาจมองเห็นตัวเอง เห็นความจริงภายใน และเกิดปญญาขึ้น
ใหปลอยไปสูความรูสึกผอนคลาย ปลอยมือทั้งสองวางทิ้งไวนานจนกวาจะเขาใจวามีอะไรเกิดขึ้น ในระยะแรกของการปฏิบัติ ทานอาจตองการนวดหรือหวีบริเวณที่วางมือไว หรือปลุกระบบประสาทการรับรูของสวนนี้ขึ้น ใหสังเกตวาถาสวนนี้นุมหรือปวด พยายามทําใหเกิดความสบาย และใหเวลาในการปฏิบัติ และอยูในที่ที่เงียบที่สุด
Helpful Instruction for Self Help Acupressure
Cindy Mason, CMT, Ph.D., State Certified Health Educator
www.21stcenturymed.org 011-1-510-967-9005
email: cindymason@media.mit.edu